จงใช้ชีวิตกับการขอบคุณเขาให้น้อย แต่ให้อภั ยเขาให้มาก

วันนี้เราจะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้การใช้ชีวิตในยุคปัจจุบันนี้ กับบทความ จงใช้ชีวิตกับการขอบคุณเขาให้น้อย แต่ให้อภั ยเขาให้มาก ไปดูกันว่าทำไมเราถึงต้องอภั ยเขาให้มากกว่าการขอบคุณเขา

ถ้าบอ กลอย ๆ ขึ้น มาว่า ‘เราควรขอบคุณให้น้อย..’ คงอาจสงสัยว่า.. ที่จริงต้องควรขอบคุณ ให้มาก ๆ ไม่ใช่เหรอ? และกับประโยคที่ว่า ‘อภั ยมากกว่า’ หมายถึงอะไร อภั ยเรื่องเดียวยังย ากเลย มันก็ชวนให้อ่านแล้ว สงสัยเพราะ ส่วนหนึ่งมันเป็น เรื่องของภาษาที่เจตนาเขียนใ ห้คิดไปต่าง ๆ กัน

บทความนี้ เกิดจากแง่คิดหนึ่ง ที่คิดได้ในการเตรียมเนื้อหา เพื่อใช้บรรย าย ( อีกแล้ว ) หลักสูตรอบรมหัวหน้างาน ที่ในหล า ยๆหลักสูตรของผมหมาย ถึงทักษะที่ส่วนใหญ่ สามารถใช้ได้ทั่วไป ในชีวิตประจำวันด้วยทีนี้ยิ่งเป็น เรื่องใกล้ตัวเท่าไหร่ เหมือนจะพูดง่าย แต่มันไม่ง่ายเลย ที่คนเราจะตระหนักรู้ และเอาไปปฏิบัติ

จงขอบคุณให้น้อย การขอบคุณไม่ว่าจะรู้สึกขอบคุณ หรือ เพียงกล่าวคำขอบคุณ เป็นสิ่งที่ดีทีนี้ใน ‘ภาวะที่เรา ต้องขอบคุณ’ย่อม เกิดจากเราได้รับ บางสิ่งบางอย่ าง จากใครคนหนึ่ง หรือ สิ่งหนึ่งซึ่งหมายความว่าเราเป็น ‘ผู้รับ’นั่นเอง.. ในทุก ๆ วัน หากเราอยู่กับใครมาก ๆ

จะเป็นคนในครอบครัว หรือ ทำงานร่วม กับ ใครบ่อย ๆ แล้ว ต้อง ‘เป็นฝ่าย ขอบคุณเสมอ’ นั่น หมายความว่าเราเป็นผู้รับ จากเขามากกว่า เขาต้องช่วยเหลือ เรามากกว่าเลย เถิดไป ถึงว่าเราอาจทำอะไรได้ ไม่ค่อยดีประจำเขา ต้องช่วยประจำมีศักยภาพน้อยเกินไป ใช่ว่า จะเป็นความผิดเสีย ทีเดียว

แต่จะดีกว่าถ้า… หากเราเป็นฝ่ายขอบคุณให้น้อย และให้อีกฝ่ายเป็นฝ่ายขอบคุณเรา มากกว่านั่น ย่อมหมายถึงเราทำในสิ่งที่มีค่า มีประโยชน์ต่อเขาได้มากกว่า หรือ อย่ างน้อยการที่ต่างฝ่ายต่างขอบคุณพอ ๆ กัน ก็เป็นเรื่องดีเพราะอยู่ใน สถานะที่ต่างฝ่ายต่าง ได้ช่วยเหลือ กัน ทั้งนี้คำว่าน้อยกว่ามากกว่าอาจ

ไม่ใช่ ปริมาณที่ชัดเจนหรือมาก แบบต้องขอบคุณกัน ทุกวันวันละหล า ยรอบ เพราะการที่ขอบคุณใครน้อยในที่นี้ยังหมายถึง การที่เรา ‘ไม่ต้องคอยรอ ให้ใครมาช่วยเหลือ’ ยืนด้วย ตัวเองได้พึงพาตัวเอง ได้ดีนั่นเอง อ่อ!แต่ไม่ได้หมายความว่าเวลามีใครช่วยเหลืออะไรแล้ว เราไม่รู้สึกขอบคุณก็คิดว่าตัวเองต้องขอบคุณ น้อยแล้วอันนี้ก็ไม่ใช่นะครับ…

อภั ยมากกว่า

จากเรื่องแรกถ้าพอเข้าใจก็คงคิดได้ว่า ‘อภั ยมากกว่า’ นี้ หมายถึงอะไร ก็ในทำนองเดียวกัน หากเราต้องทำตัว ให้ใครคอยให้อภั ยเรามาก ๆ ย่อมต้องหมายถึง ‘เราทำผิดต่อเขาบ่อย ๆ ‘ อันที่จริงก็ดีมากแล้ว ที่รู้สึกผิดเป็น แต่จะดีกว่าหากไม่ต้องเกิดบ่อยๆเท่านั้นเอง และในแต่ละวันที่ผ่านไป

เราก็ควรเป็นฝ่ายอภั ยมากกว่า คือ ปกติเราย่อมไม่พอใจ หากใครทำผิด ต่อเราแต่มันก็ดี กว่าการใช้ชีวิต แบบเราเป็นฝ่ายทำผิดต่อใคร ต่อคนอื่น มากกว่า หรือ อยู่เรื่อย ๆ มิใช่ หรือ? หากเทียบกันแล้วในคนที่มีจิตสำนึก โดยส่วนใหญ่ ความรู้สึกผิดนั้น เราอาจลบเองได้ย ากเพราะไม่รู้ว่าอีกฝ่าย จะให้อภั ยไหม

แต่สำหรับการให้อภั ยหาก เราทำได้เราจะไม่คาใจ และสิ่งเหล่านั้น ไม่อาจเป็นตะกอนภายใต้ จิตใจเราชีวิตที่อภั ย ได้กับชีวิตที่ต้องรู้สึกผิด โลกสดใสต่างกันโดยสิ้นเชิง เป็นเพียงอีกหนึ่งบทความดีๆ สั้น ๆ ที่ให้ทบทวนว่า ‘จงขอบคุณให้น้อยกว่า ใครเขาต้องขอบคุณ เราจงอภั ยให้ มากกว่า..ใครเขาต้องให้อภั ยเรา’…ขอบคุณที่อ่านเว็บนี้นะครับ

ที่มา k i d – s i, k a e y i m