วันนี้เราอยากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้วิธีการขอปิดบัญชีเงินฝาก กรณีที่เจ้าของบัญชีได้เสียชีวิตไปแล้ว กับบทความ วิ ธีขอปิดบัญชีเงินฝาก หากเจ้าของได้จากไปแล้ว ไปดูกันว่าจะต้องทำอย่างไรบ้าง เพื่อให้เราสามารถได้นำเงินฝากที่มีนั้นออ กมาใช้ประโยชน์ภายในครอบครัวต่อไป
หล า ยๆคนเก็บออมเ งิ นไว้ กับธนาคารซึ่งเห็นว่ามีความ ป ล อ ด ภั ย และง่ายในการเก็บ แต่คนเราไม่สามารถรู้ถึง วันสุดท้ายของตัวเองได้ เมื่อถึงวันสุดท้ายของเราแต่ยังมีเ งิ นอยู่ในธนาคาร ลูกหลานควรทำ อ ย่ า ง ไร แล้วลูกหลาน จะเอาเ งิ นนั้นออ กมาได้ อ ย่ า ง ไรวันนี้เรามีคำตอบมาฝากกันคร่าวๆ จะเป็นอ ย่ างไรไปดูกันเลย โดยกฎหมายแล้ว ผู้ที่สามารถ ติ ด ต่อขอปิดบัญชีได้ คือ ผู้จัดการ ม ร ด ก ต า ม ที่พินัย ก ร ร ม ระบุไว้ แต่หากไม่มีพินั ยก ร ร ม
หรือไม่ได้ระบุชื่อในพินัย ก ร ร ม ทาย าทจะต้องทำเรื่องร้องขอให้ศาล แต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กเ สี ยก่อน ซึ่งใช้เวลา ประมาณหนึ่งถึงสองเดือน หลังจากนั้นผู้จัดการม ร ด กก็จะสามารถ ติ ด ต่อสถาบันการ เ งิ น เพื่อปิดบัญชีได้ เราเจอบทความหนึ่ง เป็นของสมาชิกผู้ใช้พันทิป ชื่อ พ่อขวัญเอย เล่าว่า แ ช ร์ประสบการณ์ ปิดบัญชี Bank ของผู้ล่วงลับกับ Bank สีเขียว หลังจากได้รับแต่งตั้งเป็นผู้จัดการม ร ด ก เพื่อจะได้นำ เ งิ น มา จัดการแบ่งให้ทาย าท ผมวิ่งรอ กไปมา
กับ Bank สีเขียวหล า ยเที่ยวเพื่อปิดบัญชี จนต้องขอเอ ก ส า ร จาก Bank ว่าต้องใช้หลักฐานอะไรบ้าง ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ สนง. บอ กว่าให้ไม่ได้นะครับ ผมไม่เข้าใจเหมือนกันว่าทำไม เwราะเป็นเรื่องที่ลูกค้ าน่าจะรู้ก่อน มา ติ ด ต่อ กับ Bank แต่ โ ช ค ดีที่คุย กับผู้จัดการสาขาเข้าใจ เลยอย ากนำมาแ แ ช ร์ใ ห้ทุกคนได้รู้กันครับว่าต้อง เตรียมหลักฐานอะไรบ้าง ถ้าต้องปิดบัญชีของผู้ล่วงลับกับ Bank สีเขียว เอ กส า รประกอบการขอรับม ร ด ก เ งิ น ฝากของผู้วายชนม์ Bank สีเขียว
กรณีมีคำสั่งศาลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กมาแสดง
1 สำเนาใบ ม ร ณ ะ บัตร
2 หนังสือทาย าท ขอรับม ร ด ก E05093-4-12
3 สำเนาคำสั่งศาล แต่งตั้งผู้จัดการม ร ด ก
4 สำเนาบัตร ประจำตัว ปชช. ของผู้จัดการม ร ด ก
หรือสำเนา Passport กรณีผู้จัดการม ร ด กเป็นช าวต่างช าต
5 สำเนาหนังสือรับรองคดีถึงที่สุด
6 ใบรับ เ งิ น
7 สมุด เ งิ น ฝากทุกประเภทของผู้วายชนม์ ถ้ามี
หมายเหตุ หนังสือรับรองคดีถึงที่สุด จะขอจากศาลได้หลังจากคำสั่งศาล แต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กแล้ว 30 วัน ร า ยการ 5และ6 ทาง Bank มีให้กรอ ก ต้องนำเอ กส า รตัวจริงไปแสดงด้วยนะครับ
กรณีไม่มีคำสั่งศาลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กมาแสดง
1 สำเนาใบ ม ร ณ ะ บัตร
2 สำเนาบัตรประจำตัว ปชช. และสำเนาทะเบียนบ้าน
ของ ท า ย า ท ทุกคน ผู้มาขอรับ เ งิ น
3 หนังสือทาย าทขอรับม ร ด ก E05093-4-12
4 หนังสือ สัญญาค้ำประกัน
5 สำเนาบัตรประจำตัว ปชช. และสำเนาทะเบียนบ้าน ของผู้ค้ำประกัน
6 หนังสือยินยอมจาก คู่สมรสของผู้ค้ำประกัน ในกรณีที่ผู้ค้ำประกันสมรสแล้ว
7 ใบรับ เ งิ น
8 ใบสำคัญการจดทะเบียน สมรสของผู้วายชนม์ ถ้ามี
9 สมุด เ งิ น ฝากทุกประเภท ของผู้วายชนม์ ถ้ามี
จะเห็นว่าเอ กส า รที่ Bank สีเขียวต้องการมีเยอะมากๆ ปกป้องเรื่องยุ่งๆที่ Bank อาจจะต้องเจอ ภายหลังอ ย่ างเต็มที่ จากประสบการณ์ที่ผมดำเนินการปิดบัญชีกับ Bank สีเขียว อ ย า ก เล่าให้ฟังดังนี้ เมื่อได้รับคำสั่งแต่งตั้งเป็นผู้จัดการ
ม ร ด กแล้วให้นำ หลักฐานที่มีไปยื่นต่อสาขาที่ จะปิดบัญชีทางสาขาจะส่ งเรื่องให้ สนง. ดำเนินการ อาจใช้เวลาสัก 1-2 อาทิตย์ จะมี จม.แจ้งจาก สนง. ให้ไปติดต่อที่สาขาเพื่อเบิก เ งิ น ได้ แต่ผมรอถึง 3 อาทิตย์ ไม่มี จม.มา จึงไปต ามเรื่องที่สาขา น้อง พนง. โทรไปต ามเรื่องที่ สนง. แต่ไม่มีคนรับสายเป็น ชั่ ว โมงๆ จนต้องให้ผมกลับมารอฟังข่าวที่บ้าน และน้องแจ้งต ามมาว่า จม.ลงทะเบียนส่ งมานานแล้ว เมื่อถามถึงเลขทะเบียน เพื่อเช็คกับไปรษณีย์ คำตอบคือ ไม่มีครับ ถ้า โ ช ค ดี
ได้รับ จม. และครบกำหนด 30 วันหลังจากได้รับคำสั่งแต่งตั้งเป็นผู้จัดการม ร ด กแล้ว ให้ไปขอหนังสือรับรองคดีถึงที่สุดจากศาล ก่อนไปปิดบัญชีที่สาขา ในกรณีที่ อ ย า ก ได้เร็วหรือไม่ อ ย า ก ไปศาลเพื่อขอหนังสือ รับรองคดีถึงที่สุด Bank
แจ้งว่าสามารถพาบุคคล ที่น่าเชื่อถือเพื่อไปรับรองการปิดบัญชีได้ อันนี้เป็นประสบการณ์ กับกสิกรนะครับ บาง Bank ก็อาจจะต้องการหลักฐาน มากหรือน้อยกว่านี้ เช่น Bank กรุงศรีอยุธย า ระบุไว้ดังนี้ ผมปิดบัญชีเรียบร้อยแล้วครับ โดยได้รับความร่วมมือจากสาขาเป็นอ ย่ างดี แต่เห็นว่าขั้นตอน และระเบียบที่ออ กโดย Bank กสิกรสร้างความยุ่งย ากแก่ลูกค้ ามากๆ เมื่อเทียบกับ Bank อื่น ไม่ว่าจะมี เ งิ น ในบัญชีแค่ร้อยหรือพันบาท ก็ต้องเ สี ยเวลาส่ งเรื่องเข้า สนง. ปิดบัญชี
เสร็จยังจ่ายเป็น แคชเชียร์เช็คอีกตะหาก ต้องเ สี ยเวลาไปเข้าบัญชีอีก พนง. บอ กว่าจะได้มีหลักฐานการรับ เ งิ น เดี๋ยวนะ ใบรับ เ งิ น ยังไม่พออีกรึ โดยสรุปแล้ว เราขอแนะนำว่า วิ ธีการที่ดีที่สุดคือ การทำพินัยก ร ร มไว้ก่อน เพื่อจะได้ไม่ต้องเป็นภาระ ของทาย าทในการดำเนิน การภายหลัง ซึ่งการทำพินัย ก ร ร ม นั้นไม่ได้หมายความว่าเป็นการแช่งตัวเอง แต่หากมองต ามหลักเหตุและผล การทำพินัยก ร ร มนั้นถือเป็นการวางแผนการ เ งิ น ที่รอบคอบมากกว่า
ที่มา parinyacheewit, sabidee, sit-smiling