หากอายุ 30 แล้วแต่ยังสร้างความมั่นคงให้กับตัวเองไม่ได้ จงคิดทบทวน 7 เรื่องนี้

หล า ยๆ คนในตอนนี้น่าจะอยู่ในกลุ่มวัยทำงานช่วงอายุ 23-30 ซึ่งเป็นวัยที่กำลังเริ่มสร้างฐานะเพื่อความมั่นคงใช่มั้ยครับ แต่หล า ยๆ คนกลับตรงกันข้าม เพราะบางคนก็ยังมีห นี้สิ้นจากบัตรเครดิตหรือบัตรกดเงินสดที่ต้องต ามใช้กันอยู่ หรือ บางคน มีภาระที่ต้องแบกรับทั้งค่าใช้จ่ายในครอบครัว หรือถ้าหนักหน่อยก็มีภาระห นี้สินของที่บ้าน ที่เราต้องมาช่วยเหลืออีกทาง

ไม่เป็นไรครับ เพราะต้นทุนชีวิตแต่ละคนไม่เท่ากัน นั่นคือเรื่องจริง แต่ถึงจะเป็นแบบนั้นก็ไม่หมายความว่าเราจะเริ่มต้นสร้างความมั่นคงทางการเงินให้กับตัวเองไม่ได้ วันนี้เลยขอมาให้ความรู้กับเพื่อนๆ ในหัวข้ อ 7 เรื่องเงินต้องทบทวน ถ้าอายุ 30 แต่ยังไม่มีอะไรเลย มาดูกันครับว่ามีอะไรบ้าง

1. บริหารความเ สี่ ย งให้เป็น

การมีสติช่วยให้เราผ่านทุกปัญหาได้ เพราะสิ่งที่เราจะพูดต่อไปนี้ คือเรื่องของความเ สี่ ย งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าคุณจะโสดหรือไม่ก็ต าม ความเ สี่ ย งที่ควรพิจารณามี 3 ด้านคือ

1.1 ความเ สี่ ย งด้านชีวิตและสุ ข ภ า พ เริ่มจากการคิดว่า หากเราเ จ็ บป่ ว ยหรือเกิดเหตุไม่คาดคิด ครอบครัวจะต้องลำบากเพราะข า ดกำลังสำคัญรึเปล่า หากคำตอบคือใช่ เราลองบริหารความเ สี่ ย งโดยการซื้ อประกันดีมั้ย

1.2 ความเ สี่ ย งด้านท รั พ ย์สิน นั่นก็คือหากเราหยุดทำงาน ไม่ว่าจะลาออ กหรือไม่อย ากลาออ กก็ต าม เรามีความพร้อมรึยัง หากไม่มี สิ่งแรกที่ควรทำคือสำรองเงินฉุกเฉิน ประมาณ 6 เดือน ของรายจ่ายเอาไว้ก่อน

1.3 ความเ สี่ ย งในการดำเนินชีวิต เช่น หากวันหนึ่งเพื่อน ๆ ขับรถแล้วเกิดอุบัติเหตุ เรามีประกันภั ยรถยนต์รึเปล่า ถ้าไม่มีจะซื้ อมั้ย ซื้ อประกันแบบไหนดี

2. สร้างงบการเงินในแบบของตัวเองได้แล้ว

แม้เพื่อน ๆ จะหาเงินได้มากแค่ไหน แต่หากบริหารเงินไม่ดี เงินที่ได้มาก็จะห า ยไปง่าย ๆ เรียกว่า ร ว ยเดย์ ร ว ยกันแค่วันสิ้นเดือน ดังนั้น สิ่งที่เพื่อน ๆ ต้องให้ความสนใจในลำดับถัดมา คือ การสร้างงบรายจ่าย หากไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นยังไง ให้เริ่มต้นจากงบการเงิน 50-30-20 ดูครับ สิ่งจำเป็น สิ่งอย ากได้ ออมฉุกเฉิน

3. คุณต้องมีเงินสำรองฉุกเฉินอ ย่ างน้อย 6 เดือน

คิดจาก รายจ่ายปกติต่อเดือน x 6 เดือน = เงินสำรองฉุกเฉินที่ควรมี เงินจำนวนนี้จะช่วยให้เราสามารถรับมือ กับปัญหาด้านการเงินได้ โดยไม่ต้องกู้ยืมเงินคนอื่น เพราะการกู้ยืมเงิน อาจจะทำให้เรากลับเข้าไปอยู่ในวงจรห นี้อีกครั้ง

4. รู้ตัวเองก่อนว่า มีอะไรมากกว่ากัน ระหว่าง ท รั พ ย์สิน กับ ห นี้สิน

หากว่าเพื่อน ๆ มีรายได้เดือนนึงหลักหล า ยหมื่น แต่กลับมีรายจ่ายสูงพอ ๆ กับรายรับ สิ่งที่ควรใส่ใจอ ย่ างแรกเลย คือ ลิสต์รายการของท รั พ ย์สิน เพื่อเปรียบเทียบกับห นี้สินที่มีทั้งหมดครับและถ้าหากมานั่งงงว่า เฮ้ย

เราก็มีสินท รั พ ย์เยอะนะ มือถือรุ่นใหม่ ๆ กล้องถ่ายรูปแพง ๆ ฯลฯ แต่ทำไมยังจนอยู่ มีแต่ห นี้สิน คิดง่าย ๆ เลยครับ มือถือ จำนวน 1 เครื่อง ร า ค าประมาณ 25000 – 30000 บาทแต่ร า ค าข า ยต่อ มูลค่ามันห า ยไปแทบจะครึ่งนึงแล้วครับ แค่นี้ก็พอจะมองออ กแล้วใช่มั้ยครับว่าเพื่อน ๆ ต้องเริ่มกลับมาวางแผนการเงินให้ตัวเองได้แล้ว เริ่มต้นง่าย ๆ ที่เริ่มสะสมท รั พ ย์สิน ที่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น หุ้น กองทุนรวม เป็นต้น

5. เริ่มทยอยปลดห นี้ให้หมดได้แล้ว

ไม่ว่าจะเป็นค่าผ่อนรถ ค่าบัตรเครดิต หรือแม้แต่ค่าผ่อนสินค้า 0เปอร์เซน ต่าง ๆ นั่นเพราะยิ่งปลดห นี้เร็วเท่าไหร่ เราก็สามารถนำเงินไปต่อยอ ดได้มากขึ้นเท่านั้นครับ และถ้ายังไม่แน่ใจว่าจะปลดห นี้ยังไงดีแนะนำให้เริ่มจากดูว่าเรามีห นี้ทั้งหมดกี่ราย

จำนวนเงินที่เป็นห นี้ของแต่ละราย และอัตราดอ กเบี้ย จากนั้นให้จัดลำดับห นี้ โดยให้ห นี้ที่มีอัตราดอ กเบี้ยสูงสุดอยู่ด้านบน และเริ่มต้นปลดห นี้จากก้อนนั้นก่อน แล้วค่อย ๆ ทยอยปิดห นี้ก้อนอื่น ๆ ต่อไปจนหมดครับ

6. วางแผนเกษียณหรือยัง

แก่ไม่ว่า แต่อ ย่ าแก่แบบไม่มีเงินครับ ที่บอ กแบบนี้เพราะอย ากให้วางแผนเกษียณกันไว ๆยิ่งวางเร็วยิ่งดี ดังนั้น การเริ่มต้นตั้งแต่วันนี้ ก็เพื่อผลประโยชน์สำหรับเราเองครับ ไม่ต้องลำบากลูกหลาน

7. ศึกษาเรื่องภาษีได้แล้ว

ยิ่งรายได้มาก ก็อ ย่ าลืมว่าภาษีต้องเพิ่มขึ้นเป็นเงาต ามตัว เพราะถือเป็นกฎหมายที่ทุกคนในชาติต้องปฏิบัติต าม สิ่งที่เพื่อน ๆ ควรศึกษาคือ กฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับภาษี ไม่ว่าจะเป็นการลดหย่อน หรือ การละเว้นใด ๆ ก็ต าม

ที่มา  forlifeth