เรียนจบอะไรมาไม่สำคัญ ทำงานเลี้ยงตัวเองเป็นสำคัญกว่า

หล า ยคนอาจจะเคยเห็นหล า ยคนที่จบมาแต่มาทำงานคนละสายกับที่เรียน มา จึงเกิดคำถามหล า ยๆอ ย่ างขึ้น มา แต่เราจะบอ กว่าการที่เรียนจบสายอะไรมามันก็ไม่สำคัญเท่ากับว่าเราหาเลี้ยงตัวเองได้ไม่เดือ ดร้อนใครอันนี้น่าจะสำคัญกว่า ที่จะมัวแต่ไปโฟกัสว่าทำไมไม่ทำงานต ามสายที่เรียน มา

จะเรียนไปทำไม ถ้าสุดท้าย ก็ได้งานที่ไม่ตรงสายงาน ที่น้อยคนจะรู้จัก เงิ นเดือนที่ไม่ได้มากมายอะไร คำถามนี้ จะได้คำตอบที่ทำให้กลุ้มใจมากเลย เพราะมันเต็มไปด้วย ความคาดหวัง ที่คิดว่า เรามีทางเลือ กอยู่ไม่กี่อ ย่ างในชีวิต

แต่ถ้าลองเปลี่ยนเป็นความคิด ฉันทำงานอะไรก็ได้ ไม่ว่าจะตรงสาย หรือไม่ก็ต าม มันอาจดูเป็นประโยคของคนแพ้ ในสายต าบางคน แต่ถ้าคิดดูแล้ว มันได้ความสบายใจเยอะ กว่าการตั้งคำถามแบบแรก เพราะความเป็นจริงของชีวิตคือ

1.สิ่งที่เราเก่ง ไม่จำเป็นต้องออ กมา ในรูปแบบวิชาชีพ เช่น หมอ วิศวกร พย าบ า ล มันอาจเป็นพรสวรรค์ก็ได้ เป็นความรู้อะไรก็ได้ ที่เราเอาจริงกับมัน เช่น การทำอาหาร การจัดสวน การออ กแบบ ไม่อ ย่ างงั้น เราคงไม่เห็นนักธุรกิจ หน้าใหม่หล า ยคน ผุดขึ้นเป็นดอ กเห็ดหรอ ก

2.มนุษย์เราควรมีทางเลือ ก ให้กับชีวิตไว้หล า ยด้าน หรือมีแผนสำรอง เพื่อไม่เป็นการปิดกั้นตัวเองจนเกินไป เช่น ถ้าวุฒิที่เราเรียน มา มันหางานย าก จะยอมรึเปล่า ที่เอาวุฒิต่ำกว่านี้ หางานไปก่อน ถ้าเราไม่ได้อาชีพนี้ เรายอมได้รึเปล่า ที่จะทำอาชีพอื่นไปพลางๆ ก่อนความฝัน สิ่งที่ใช่ มันไม่ควรเป็นสิ่งที่ได้ดั่งใจในทันที

3.แม้แต่ในคนคนเดียว ยังมีความสามารถ ที่หลากหล า ย เช่น เป็นหมอ แต่ก็เล่นดนตรีเก่งทำอาหารเก่ง เป็นศิลปิน แต่ก็คำนวณเก่ง ขับรถเก่ง ในครั้งหนึ่งที่เราไม่เห็นประโยชน์ว่า จะใช้อะไรได้จริง พอโตขึ้นอีกหน่อย มันก็ต้องมีบ้าง ที่เรานึกอะไรขึ้น มา จนต้องไปหาอ่ าน ปัดฝุ่นตำราอีกครั้ง ทุกความรู้ ที่เราได้รับ ไม่เคยสูญเปล่า แค่เรามองไม่เห็นค่ามันเอง ลองนึกดูให้ดีสิ

4.มันเป็นเรื่องธรรมดาที่มนุษย์เรา จะต้องวิ่งต ามหาสิ่งที่ใช่ ค่อยๆเรียนรู้ ค่อยๆปรับตัวไป สิ่งที่เรากำลังสนุก ในตอนนี้ บางทีอาจจะยังไม่ใช่ที่สุด สิ่งที่เราเก่งในตอนนี้ ในวันข้างหน้า มันอาจเป็นเพียงแค่ความทรงจำ เพราะอาจมีหล า ยปัจจัย ให้คิดมากขึ้น

เช่น จำเป็นต้องพับโครงการ เรียนต่อเอาไว้ เพราะเงิ นไม่พอ จำเป็นต้อง ทำงานหาเงิ นก่อน แล้วค่อยไปเรียนศิลปะ ที่เราชอบ เราต้องดูจังหวะ ของชีวิตด้วย ความจำเป็นของชีวิตแต่ละช่วง

5.มนุษย์ทุกคน มีความสามารถในตัวเอง แตกต่าง กันไป เราไม่จำเป็น ต้องเก่งเหมือนกันหมด

6.สิ่งที่เราเรียน มาเป็นสิบเป็นร้อย มันคือ การหล่อหลอม หล า ยวิชา ไม่ได้สอนเราทางตรง แต่ให้เราค่อยๆซึมซับข้ อ ดี แต่ละอ ย่ างไปเอง เช่น ฝึกความอ ดทน ฝึกความประณีต ฝึกทักษะ การเข้าสังคม

7.ในรั้วโรงเรียน ต่อให้เราได้เรียนกับอาจารย์ที่เก่งแค่ไหน ขอบเขตความรู้ มันก็เป็นเพียงความรู้ในรั้วเท่านั้น โลกของวัยผู้ใหญ่ ที่โตขึ้น เรายังต้องรู้เห็นอีกมาก เรียนรู้กันอีกย าว

ลองผิ ดลองถูกกันอีกเยอะ ดังนั้นจะมาฟั นธงว่า เรียน มาสายวิทย์ ต้องทำงานสายวิทย์ เรียนสายภาษา ต้องทำงานสายภาษา มันก็ไม่ถูกเสมอไป มันเป็นเรื่องธรรมดามาก ที่ต้องแลกกับความเหนื่อย ความพย าย ามหล า ยเท่าตัว จึงไม่ใช่เรื่องแปลก

หากจะพบว่า หมอบางคนแต่งเพลงได้ บางคนเรียนวิชาชีพ แต่มาเป็นศิลปิน บางคนเรียนไม่จบ แต่ประสบความสำเร็จ ถ้ายังไม่เข้าใจในข้ อนี้ ลองย้อนกลับไปอ่ านข้ อ 6 อีกรอบ ขึ้นชื่อว่าความรู้เราได้รับมา ถึงจะไม่ได้ใช้ในทันที ก็ไม่ควรเ สี ยดาย

ขึ้นชื่อว่าความฝัน ถึงจะยังไม่ใช่ในวันนี้ ใช่ว่าวันหน้า จะเป็นไปไม่ได้ มันอยู่ที่ตัวเราล้วนๆว่า รู้ตัวดีหรือไม่ ว่าทำอะไรอยู่ และพร้อมจะยืดหยุ่นกับทุกสถานการณ์ชีวิตรึเปล่า อ ย่ าลืมว่าโลกเรากลม และมีหล า ยมิติ ใช่ว่าจะต้องมองเพียงด้านเดียว

ที่มา  yakrookaset