วันนี้เราอย ากที่จะพาเพ่อนๆ ไปเรียนรู้วิธีการรับมือยุคเฟ้อ เพื่อให้ชีวิตอยู่รอ ด กับบทความ วิ ธีใช้ชีวิตให้อยู่รอ ดในยุค ข้าวย ากหมากแพง ค่าแรงเท่าเดิม ไปดูกันว่าจะต้องรับมืออย่ างไรบ้าง เพื่อให้ชีวิตดำเนินต่อไปได้
ปัญหาเงินเฟ้อส่ งผลกระทบไปทั่วโลก ในอเมริกาเงินเฟ้ออยู่ที่ 8.6% ส่วนของบ้านเราเงินเฟ้ออยู่ที่ 7.1% และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เพราะยังมีการอั้นของร า ค าสินค้าต่างๆ ถ้าต้องการอยู่รอ ดในยุคเงินเฟ้อแบบนี้ นี่คือสิ่งที่คุณต้องรู้
เงินเฟ้อคืออะไร?
เงินเฟ้อ เป็นภาวะทางเศรษฐกิจ ที่ร า ค าสินค้าและบริการต่างๆ เช่น อาหาร น้ำมัน แก๊สหุงต้ม ค่าเดินทาง เสื้อผ้า ห้องพัก ค่ารั ก ษ าพย าบาล และอื่นๆ ปรับสูงขึ้นต่อเนื่อง ทำให้เงินในมือของเรามีค่าน้อยลง หรือเราต้องใช้เงินจำนวนเพิ่มขึ้น เพื่อซื้ อสินค้าและบริการต่างๆ ในปริมาณที่เท่าเดิม
อัตราเงินเฟ้อวัดได้อย่ างไร?
ทุกเดือน กระทรวงพาณิชย์จะเก็บข้อมูลร า ค าสินค้าและบริการจำนวน 430 รายการ มาคำนวณเป็นดัชนีร า ค าผู้บริโภค ( Consumer Price Index: CPI ) โดยเปรียบเทียบร า ค าของสินค้าและบริการในวันนี้ กับร า ค าเมื่อ 1 ปีก่อน ค่าเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นของร า ค าสินค้าและบริการต่างๆ เรียกว่า ‘อัตราเงินเฟ้อ’ ดังนั้น หากอัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ 3% แปลว่าร า ค าโดยเฉลี่ยในปัจจุบัน สูงกว่าร า ค าในปีที่แล้วอยู่ 3%
ตัวอย่ างเช่น ถ้าข้าวสารหนึ่งถุงร า ค า 100 บาทในปีที่แล้ว และร า ค าเพิ่มเป็น 103 บาทในปีนี้ แปลว่าร า ค าเพิ่มขึ้น 3%
การเกิดเงินเฟ้อแบ่งเป็น 2 สาเหตุหลัก
1 ความต้องการซื้ อสินค้าและบริการมีมากขึ้น ทำให้สินค้าและบริการไม่เพียงพอ ผู้ข า ยจึงถือโอกาสขึ้นร า ค า
2 ผลผลิตข า ดแคลน จากปัญหาด้านการผลิต เช่น โ ร คระบาดทำให้หมูต า ย หรือต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ทำให้ผู้ผลิตต้องขึ้นร า ค าสินค้าและบริการ
ใครทำหน้าที่ดูแลเรื่องเงินเฟ้อ?
1 กระทรวงพาณิชย์ มีหน้าที่ดูแลร า ค าสินค้า ไม่ให้ผู้ผลิตฉวยโอกาสขึ้นร า ค า และดูแลไม่ให้มีการกักตุนสินค้าจนข า ดแคลน รวมถึงจัดทำดัชนีร า ค าผู้บริโภค เพื่อวัดและติดต ามภาวะเงินเฟ้อ โดยรวบรวมข้อมูลร า ค าสินค้าและบริการจากทั่วประเทศ
2 แบงก์ช าติ ดำเนินนโยบายการเงิน ผ่านอัตราดอ กเบี้ยนโยบาย โดยปรับอัตราดอ กเบี้ยนโยบาย
เพื่อเปลี่ยนแรงจูงใจในการเก็บออมหรือ กู้เงิน ของประช าชนและผู้ประกอบการ เพื่อ ดูแลเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ไม่ผันผวน และเอื้อต่อ การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่ างยั่งยืน โดยเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อทั่วไปนั้นอยู่ที่ 1% – 3% ต่อปี
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ผลกระทบของเงินเฟ้อต่อประช าชนทั่วไปอย่ างเราๆ ร า ค าสินค้าและบริการต่างๆ จะแพงขึ้น ทำให้เรามีภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ในการซื้ อสินค้าลักษณะเดิม อย่ างเช่น ตอนนี้หล า ยคนจะรู้สึกแล้วว่า การเติมน้ำมันให้เต็มถัง ต้องใช้เงิน มากกว่าเดิมเยอะเลย นั่นเป็นเพราะมูลค่าของเงินลดลง จากอัตราเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น ยิ่งอัตราเงินเฟ้อสูงมาก มูลค่าของเงินก็จะยิ่งลดลงเร็ว แบงก์พันใบเดิม แต่ซื้ อของได้น้อยลงอย่ างเห็นได้ชัด
แล้วเราจะรับมืออย่ างไร เพื่อให้อยู่รอ ดใน ‘ยุคเงินเฟ้อ’ แบบนี้
1 ควรใช้เงินอย่ างระมัดระวัง วางแผนการเงินรองรับสภาวะเศรษฐกิจย่ำแย่ และสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด
ที่สามารถเกิดขึ้นได้ภายใต้สภาวะเงินเฟ้อ เช่น การเลิกจ้าง หรือ การลดค่าใช้จ่ายจากอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้น
2 เตรียมเงินเก็บสำรองฉุกเฉิน ไว้ให้พร้อมอย่ างน้อย 6 – 12 เดือน ( สำคัญมาก )
3 เตรียมตัว เตรียมใจ และเตรียมพร้อมรับมือ กับร า ค าสินค้าที่จะสูงขึ้น จากต้นทุนที่สูงขึ้นในสภาวะเงินเฟ้อนี้
4 แน่นอนว่าเมื่อสภาวะเงินเฟ้อเกิดขึ้น การเก็บออมในค่าเงินที่มีแนวโน้มลดลงนั้นไม่ใช่ทางเลือ กที่ดีนัก
ดังนั้น เราแนะนำให้คุณศึกษาการลงทุนในสินท รั พ ย์สู้เงินเฟ้อ เช่น ทองคำ หรืออสังหาริมท รั พ ย์ เป็นต้น
ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย, หมอยุ่งอย ากมีเวลา, SkillLane, aanplearn