วันนี้เราอย ากที่จะนำเสนอประเภทของหัวหน้างานที่ทำงานที่ไหน ก็ไม่สามารถควบคุมลูกน้องให้ทำงานให้ตัวเองได้ตรงต ามเป้าหมายของงาน กับบทความ หัวหน้างาน 5 ประเภท ที่ทำงานที่ไหนลูกน้องก็ไม่รัก ไม่ชอบ ไปดูกันว่าหัวหน้าแบบไหนที่เราเองก็ไม่ควรร่วมงานด้วย
ถ้าพูดถึง ความเป็นผู้นำ หล ายคนอาจนึกถึงคนที่มีความฉะฉาน มีการตัดสินใจที่เด็ดข า ดฉับไว แต่ในอีกด้านหนึ่งการเป็นผู้นำ หรือ การเป็นหัวหน้าหมายถึงการเป็นผู้ขับเคลื่อนกลุ่มก้อนของคนจำนวนหนึ่งเพื่อไปสู่จุดหมายหนึ่งๆ ในแง่นี้ ความเป็นผู้นำจึงหมายถึง ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน มนุษย์คนอื่นและก้าวไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ด้วยกัน
แต่ที่โชค ร้ า ย ก็คือทุกวันนี้ เราเห็นผู้คนในระดับหัวหน้าจำนวน มากยังไม่เข้าใจความเป็นผู้นำในแง่มุมนี้ หล ายคนยังข า ดทักษะมนุษยสัมพันธ์ ( People Skill ) และ ความฉลาดทางด้านอารมณ์ ( E m o t i o n a l I n t e l l i g e n c e ) และนี่คือ 5 สัญญาณของหัวหน้าที่ข า ดทักษะด้าน มนุษยสัมพันธ์และอารมณ์ จนอาจสร้างความตึง เ ค รี ย ด โดยไม่จำเป็นและฉุดรั้งความสามารถของทีมโดยรวมลง
1 เป็นผู้พูดที่ฟังไม่เป็น
อีกหนึ่งความผิดพลาดของหัวหน้า คือ การเป็นผู้พูดที่ฟังไม่เป็น ไม่เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น และถ้า แ ย่ ไปกว่านั้นก็อาจถึงขั้นไม่ฟังข้อผิดพลาดของตัวเอง และไม่ยอมรับข้อเสนอแนะเชิงสร้างสรรค์จากคนอื่น ซึ่งแน่นอนว่านอ กจากจะไม่ทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ยังอาจสร้างบรรย ากาศการทำงานที่น่าหน่ายใจ
2 ไม่ส่ งเสริมคนในทีม
หัวหน้าที่ข า ดความสามารถจะไม่เข้าใจ ว่าลูกน้องแต่ละคนเป็นอย่ างไร และสามารถส่ งเสริมศักยภาพอย่ างไรได้บ้าง จึงไม่สามารถมอบงานหรือให้คำแนะนำ ที่เป็นประโยชน์ต่อ การศักยภาพได้ในทางกลับกันหัวหน้าที่ดีจะมอบโอกาสให้กับคนในทีมไม่ว่าจะเป็นการมอบหมายงาน การให้คำแนะนำที่เหมาะสม ไปถึงการสอนงานแบบจริงจัง แน่นอนว่านอ กจากพนักงาน แต่ละคนจะได้พัฒนาตัวเองภายใต้หัวหน้าแบบนี้แล้ว บรรย ากาศการทำงานภายในทีมก็จะดีเพราะทีมจะทราบว่านี่คือพื้นที่แห่งโอกาส
3 จู้จี้จุกจิก
หัวหน้าที่ข า ดความสามารถอาจจะเข้าใจผิด คิดว่าการจัดหมายถึงการควบคุม และแน่นอนการควบคุมชนิดที่จับผิดการกระทำทุกฝีก้าว ควบคุมทุกกระบวนการ และจี้ข้อผิดพลาดที่ไม่ได้สลักสำคัญแทนที่จะมองดูภาพรวม ทำให้บรรย ากาศภายในทีม แ ย่ ลง ซึ่งผลลัพธ์ที่ต ามมาคือ การที่ลูกทีมแสดง ศักยภาพได้ไม่ดีเหมือนเดิมในทางตรงกันข้าม ถ้าหัวหน้าเปลี่ยนจาก ‘ควบคุม’ เป็น ‘ส่ งเสริม’ ให้ลูกทีมได้มีอิสระ และอำนาจที่จะตัดสินใจและทำงานด้วยตัวเองมาก เพียงพอศักยภาพและความสร้างสรรค์ของทีมก็จะถูกปลดปล่อยออ กมา สิ่งที่สำคัญคือหัวหน้าต้องเข้าใจ ลูกทีมว่าถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร และควรจะส่ งเสริมและให้คำแนะนำอย่ างไร
4 ไม่ว่างตลอ ดเวลา
สัญญาณสุดท้ายของหัวหน้า ที่ไม่ดีคือหัวหน้าที่มักจะไม่มีตัวตนและห า ยไปกับงาน ‘สำคัญ’ หรืองาน ‘ด่วน’ อยู่เสมอ โดยไม่ได้ให้ความสนใจว่าการพบปะและทำงานร่วมกับคนในทีมก็เป็นอีกหนึ่งงานสำคัญที่จะทำให้ทีมก้าวไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ด้วยกัน
5 ยึดไอเดียของตัวเองเป็นที่ตั้ง
หัวหน้าที่ไม่เข้าใจลูกน้อง ไม่เห็นศักยภาพที่แท้จริง ของลูกน้อง มักจะเป็นคนที่เอาความคิดของตัวเอง เป็นที่ตั้งและไม่เปิดรับไอเดียใหม่ๆ ซึ่งแน่นอนว่านี่เป็นผล ร้ า ย ต่อบริษัทเพราะการจัดการแบบนี้จะทำให้ความคิดสร้างสรรค์ที่มักจะเกิดจากการระดมความคิดหลากหล ายมุมมองมักจะไม่เกิดขึ้น และที่สำคัญคือสมาชิกในทีมก็จะไม่ได้พัฒนาศักยภาพของตัวเองเพราะ ไม่ได้ขัดเกลาทักษะในการคิดและลงมือทำด้วยตัวเองและที่สำคัญก็อาจจะกระทบกับ สุ ข ภ า พ จิ ต เพราะบรรย ากาศทีมไม่ได้สร้างความรู้สึกที่ว่าเรามีคุณค่ามากเพียงพอ
ที่มา I n c, s a b a i l e y