เงินซื้ อโรงเรียนที่ดีให้ลูกได้ แต่ซื้ อความเก่ง ฉลาดให้ลูกไม่ได้

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้การมีเงิน มาก ซื้ อโรงเรียนที่ดีให้ลูกได้ แต่ทำไมถึงซื้ อความเก่งให้ลูกไม่ได้ กับบทความ เงินซื้ อโรงเรียนที่ดีให้ลูกได้ แต่ซื้ อความเก่ง ฉลาดให้ลูกไม่ได้ ไปดูกันว่าทำไมเงินถึงซื้ อความเก่งให้ลูกไม่ได้

เข้าใจว่าทุกวันนี้ การศึกษาคืออนาคต ความหวังที่จะช่วยพลิกโอกาส ให้ลูกคุณมีอนาคตที่ดี หล า ยๆ ครอบครัวจึงทุ่มเททุกสิ่งที่มี ทั้งเงินและเวลา แลกกับการให้ลูกได้เรียนโรงเรียนดีๆ มีร า ค าสูง คอร์สติวสอนพิเศษต่างๆ มากมาย จนลืมไปว่าควรพัฒนาทักษะด้านอื่น ควบคู่กันไปด้วย

ตอนที่ลูกอายุได้ 2 ขวบ

เราส่ งลูกเข้า ‘เนอสเซอรี่’ หมดค่าใช้จ่ายไปปีละ 8 หมื่น เพียงแค่คิดว่ากลัวจะพัฒนาไม่ทันเพื่อน เรียนไม่ทันเพื่อน กล า ยเป็นส่ งลูกไปติดหวัดที่โรงเรียน เพราะวัยนี้ภูมิต้านทานยังไม่แข็งแรงพอ ไหนจะเสี่ยงที่จะต้องเจอ กับ พี่เลี้ยงที่ไม่ดี สอนแบบผิดๆ อีก กล า ยเป็นพฤติก ร ร มตัวอย่ าง ที่ซึมซับมาโดยไม่รู้ตัว

เมื่ออนุบาล ยันประถม

เราจัดเต็ม ทั้งในและนอ กหลักสูตร ต้องกวดวิช าเพื่อเตรียมสอบเข้า ป1 และเสริมด้วยคณิตศาสตร์ ว่ายน้ำ ไวโอลิน อังกฤษ จีน ฯลฯ กลัวลูกจะไม่เก่ง กลัวจะน้อยหน้าข้างบ้าน หารู้ไม่ว่า ‘จินตนาการ’ ต่างหาก คือสิ่งที่สำคัญที่สุด ที่จะนำพาให้ลูกคุณเติบโตขึ้น เป็นผู้ใหญ่ที่ประสบความสำเร็จได้ในอนาคต แต่คุณกำลังบังคับให้เรียนนั่นเรียนนี่ เป็นการปิดกั้นพัฒนาการในด้าน ‘จินตนาการ’ และการฝึกคิดไปโดยอัตโนมัติ เรากลัวว่าลูกจะไม่เก่ง แต่ไม่เคยถามความรู้สึกของลูกจริงๆ ว่าเขาฝันอย ากเป็นอะไร หรือเพียงเพราะเราแค่ยัดเยียดความฝันที่เราทำไม่สำเร็จ ความล้มเหลวที่เราทำให้พ่อแม่ผิดหวังไปไว้ที่ลูก ให้เป็นคนที่ประสบความสำเร็จ เพื่อมาชดเชย ‘ปม’ ความล้มเหลวในอ ดีตของเรา

พอถึงมัธยมอมเปรี้ยว

คราวนี้หนักเลย เพื่อที่จะสอบได้คะแนนดีๆ เพื่อเข้ามหาลัยดีๆ ได้เรียนพิเศษทุกเย็นหลังเลิกเรียน เสาร์อาทิตย์จัดเต็ม วันปิดเทอมไม่มีพัก ส่ งลูกเรียนซัมเมอร์ยุโรป ออสเตรเลีย บางทีลูกไม่อย ากไป แต่พ่อแม่นี่แหละอย ากให้ไป บางบ้านหมดเงินปีละ 6 – 7 แสน เพียงเพื่อให้ลูกได้เรียนในสิ่งที่คิดว่าดี ( แต่ไม่รู้ดีจริงไหม ) ยังไม่ทันเข้ามหาลัยกดไปเป็นสิบล้าน! ถึงวัยทำงานคือ ‘โลกแห่งความเป็นจริง’ พอลูกเรียนจบก็คาดหวังว่า ลูกฉันเลี้ยงมาอย่ างพิเศษใส่ไข่

ดังนั้น จะจ้างลูกฉัน มันต้องแพงกว่าสิ นี่ส่ งเรียนไปสิบกว่าล้านเลยนะ ‘ปัญหาคือ คุณค่าของใบปริญญา พ่อแม่กับนายจ้าง มองไม่เท่ากัน’ พ่อแม่ช าวไทย ให้ร า ค าค่าใบปริญญาลูกรักสูงมาก เพราะเราอยู่ในกระบวนการจ่ายเงินจริง ด้วยร า ค าสูง อย่ างย ากลำบาก ย าวนาน 20 ปี นายจ้างกลับให้ร า ค าไม่สูงเท่าพ่อแม่ แต่มีคำถามใหญ่ๆ 3 คำถาม คือ

1 ลูกคุณทำอะไรเป็นบ้าง

2 ลูกคุณเคยทำอะไรสำเร็จมาบ้าง

3 ลูกคุณจะมาสร้างความสำเร็จอะไรให้ที่นี่

อย่ าลืมว่ายุคนี้ คือยุคที่เปิดกว้าง

‘คนอินเดีย’ พร้อมบิน มาทำงานที่ กทม เขียนโปรแกรมเก่ง ยังกับคลอ ดออ กมาจากคอมพิวเตอร์ แถมขยันขันแข็ง ยังกับหุ่นยนต์

‘คนฟิลิปปินส์ อินโด มาเลย์’ พร้อมจะบิน มาทำงานที่กรุงเทพ พวกเขาเก่งภาษาอังกฤษ ลอจิกดี คุมงานเป็น เจ้าโปรเจคต์ พรีเซนต์ดี ไม่แพ้ฝรั่ง

‘คนจีน’ ไม่ต้องพูดถึงความขยันอ่าน ขยันข ายของ ขยันพบลูกค้า ใจสู้มาก ไม่ยอมแพ้ง่ายๆ โดนด่าไม่ยุบ พวกนี้คือยอ ดเซลล์แมน

แต่กับคนไทย ปริญญามหาลัยมันเริ่มจะเบลอๆ ไม่ศักดิ์สิทธิ์เหมือนรุ่นพ่อแม่ แน่นอนว่าย่อมมีบางคนได้ไปต่อ เจริญรุ่งเรือง โกอินเตอร์ แต่ก็มีจำนวน มากที่แป้กตั้งแต่อายุยังน้อย การศึกษานั้นเป็นสิ่งที่สำคัญ แต่หล า ยๆ คนยังจำกัดคำว่า ‘การศึกษา’ ไว้ในแค่ห้องเรียน ตัดสินว่าคนนั้น มีการศึกษา หรือไม่มีความรู้ จากวุฒิที่เรียนจบออ กมา และหล า ยคนก็เชื่อว่าการได้เรียนจบสูงๆ จะทำให้มีหน้าที่การงานดี อนาคตไกล แต่ในโลกความเป็นจริงแล้ว การที่เราเรียนจบสูงๆ ก็ไม่ได้หมายความว่า จะประสบความสำเร็จเสมอไป

ที่มา F u n d a m e n t a l, a a n p l e a r n