เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าแม้เ งิ นจะไม่ใช่ทุกอ ย่ างของชีวิต แต่พอไม่มีเ งิ นขึ้น มา ก็มักจะเกิดปัญหาต ามมามากมาย สงสัยกันไหมคะว่า ทำไมเ งิ น มันช่างห า ย าก แต่กลับหนีเราไปง่าย เหลือเกิน วันนี้เรามีเคล็ดลับเก็บเ งิ นเร็วดี ๆ เพื่อให้เ งิ น อยู่กับเรานาน ๆ และสนุกสนานกับการเพิ่มพูน ใครชอบวิ ธีไหนก็ลองเอาไปใช้กันดูนะคะ
1. แบ่งเ งิ นเป็นส่วน ๆ
จัดสรรปันส่วนให้ดีว่าจะเอาเ งิ นส่วนไหนไว้ใช้ทำอะไร แล้วเก็บเป็น ส่วน ๆ เอาไว้ทุกเดือน ยกตัวอ ย่ างเช่น ค่าใช้จ่ายประจำที่ต้องจ่ายแน่ ๆ 20เปอร์เซน เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าผ่อน มือถือ ค่าใช้จ่ายประจำ
วัน 40เปอร์เซน เช่น ค่ารถ ค่ากินในแต่ละวันนั่นเอง ค่าใช้จ่ายสำรองฉุกเฉิน 10เปอร์เซน เผื่อน้องหมาไม่สบาย หลังคาบ้านรั่ว รถเ สี ย เหตุการณ์ฉุกเฉินทั้ง หล า ยที่เราไม่คาดคิด ใช้ในความบันเทิง 10เปอร์เซน ไปเดินห้างซื้ อของกับ
เพื่อน กินชาน มไข่มุก 555 เก็บเป็นเ งิ นเย็นหรือ กองทุน 10เปอร์เซน เอาไว้ ในที่ ๆ เราเอาออ กมาไม่ได้ อาจเป็นบัญชีที่ไม่มีเอทีเอ็มหรือซื้ อ กองทุนที่เหมาะกับเรา ต้องศึกษาให้ดีก่อนนะจ๊ะ เพราะการลงทุนทุก ชนิดมีความเสี่ยง อันนี้เป็นแนวทางนะ การจัดสัดส่วนของแต่ละคน อาจจะไม่เท่ากัน แต่ลองดูก็ไม่เ สี ยห า ย
2. รูดบั ต รเครดิตไม่เกิน 30เปอร์เซน
ของเ งิ นเดือนในแต่ละเดือน ใครที่มีบั ต รเครดิตใช้ก็ยั้งมือไว้ด้วย อ ย่ า รูดเพลินเกินห้ามใจ แต่ไม่ได้บอ กว่าต้องหักดิบเลิกใช้นะ เพราะบั ต ร เครดิตมันไม่ได้ผิ ดอะไร มีประโยชน์ด้านส่วนลดและการสะสมแต้ม
และยังไม่ต้องสัมผัสเ งิ นสดโดยตรงช่วยลดการติดเ ชื้ อโ ร ค แถมยัง ทำให้เราหมุนเ งิ นได้คล่องขึ้น เพราะสามารถผ่อนชำระสินค้ า ด อ ก เ บี้ ย 0เปอร์เซน ได้อีก เห็น มั้ยว่าประโยชน์มัน มีเยอะแยะ แต่ก่อนจะรูดปื๊ดไปลอง
ถามใจตัวเองว่า ของนี้คือของที่จำเป็นหรือของที่อย ากได้ คือถ้า อย ากได้ จนกล า ยเป็น จำเป็น ก็ซื้ อเถอะ แต่ต้องแน่ใจด้วยว่าจะ สามารถรับผิ ดชอบค่าใช้จ่ายส่วนนี้ได้โดยไม่เดือ ดร้อน เท่านี้ชีวิตก็ แฮปปี้แล้วเนอะ ภาพเหรียญ
3. หยอ ดกระปุกทุกวัน
วิ ธีแสนคลาสสิกที่ใช้กัน มาน มนานยังคงใช้ได้เสมอ เพียงสละเศษ สต างค์สักนิดแล้วแต่วิ ธีการของแต่ละคน อาจจะกำนดวันละ 5 บาท หรือ 10 บาท แต่ไม่ต้องถึงขั้น 1 บาทนะ มันน้อยไป
บางคนอาจจะ เอาเศษเหรียญที่เหลือในแต่ละวัน มาใส่กระปุกทั้งหมดเลยก็ได้ บาง คนเก็บแบงค์ 20 หรือแบงค์ 50 สัปดาห์ละ 1-2 ครั้งก็ได้ ลองดูนะจ๊ะ ภาพเหรียญ
4. แบ่งเก็บก่อนใช้
สมัยก่อนผู้ใหญ่มักจะสอนเราว่าตังค์ที่เหลือใช้ให้เอาไป หยอ ดกระปุก แต่เดี๋ยวก่อน ยุคสมัยนี้มีสิ่งล่อใจเยอะแยะมากมาย ทั้งขน ม ไอติม ชาน มไข่มุก เครื่องสำอาง และมือถือรุ่นใหม่ที่อย ากได้
ในขณะที่ของเก่าก็ยังผ่อนไม่หมด แล้วจะเอาเ งิ นที่ไหนไป เหลือเก็บ ขอแนะนำว่าเมื่อได้เ งิ น มาก็เก็บก่อนเลยจ้า เพราะถ้าเ งิ นอยู่ในมือเรามันต้องรีบบินหนีไปกับชาน มไข่มุกแน่ ๆ
ดังนั้นตัดเก็บก่อนเลย เอาแบบเท่า ๆ กันทุกเดือน จะหลักร้อย หลักพัน มันก็เ งิ นเหมือนกันนั่นแหละ ขอแค่ความสม่ำเสมอเป็นสำคัญ อ ย่ างเช่นตั้งใจจะเก็บเ งิ นให้
ได้เดือนละ 500 บาท พอได้เ งิ นเดือน ก็หักเข้าบัญชีที่เราไม่มีบั ต รเอทีเอ็ม จะได้ไม่แอบใช้ไง ทำแบบนี้ทุกเดือนเป็นประจำ ผ่านไปหล า ยเดือนก็ได้เยอะเหมือนกันนะ
5. พิจารณาการจับจ่ายใช้สอย
อ ย่ าเห็นแก่ของถูกที่ซื้ อมาได้ไม่นานเท่าไหร่ และใช้ไปไม่กี่ทีก็พัง มา นับรวมแล้วซื้ อใหม่ปีละหล า ยครั้ง ไม่สู้ซื้ อของแพงแต่ใช้ได้นานจะคุ้ม ค่ากว่า และจัดวันที่เราจะซื้ อของใช้จำเป็นไม่เกินเดือนละ 1-2 ครั้งก็
พอ เพราะการซื้ อทีละมาก ๆ คราวเดียวจะได้ส่วนลดมากกว่าการซื้ อ ยิบย่อยแต่ซื้ อบ่อย ๆ ดีไม่ดีเข้าห้างบ่อย ๆ จะเ สี ยเ งิ นกับเรื่องที่ไม่ได้ วางแผน มาก่อน เมื่อวานซื้ อเสื้อ วันนี้ซื้ อรองเท้า ถ้าเข้าห้างทุกวัน
รับรองกระเป๋าแบนแน่ ดังนั้นจัดวันซื้ อของในวันเดียวจะดีกว่า และ โปรดระวังกับดักการซื้ อเพราะอย ากได้ของแถม จะทำให้ได้ของที่เรา ไม่ต้องการมากองอยู่ในบ้านด้วยนะ ท่องเอาไว้ซื้ อของที่จำเป็น เท่านั้น
6. ลงทุน
ไม่ใช่ให้ไปหาทำเลเช่าที่ข า ยของนะ เราหมายถึงลงทุนในเ งิ นฝาก ประจำหรือ กองทุน แต่อ ย่ างหลังนี่ต้องศึกษาให้ดีเพราะกองทุนแต่ละ
กองก็มีความผันผวนและความเสี่ยงต่างกัน แต่ถ้าอย ากอุ่นใจไม่ ข า ดทุน ชั ว ร์ ๆ การซื้ อสลากออมสินก็เป็นอีกทางเลือ กที่น่าสนใจนะ
7. รั ก ษ าสุ ข ภ า พ
สงสัยใช่มั้ยว่า เอ๊ะ มันเกี่ยวอะไรกัน ขอบอ กเลยว่าข้ อนี้สำคัญมาก เพราะเมื่อเราป่ ว ยแต่ละครั้งต้องเ สี ยค่าย าและค่าหมอจน มึน จนอาจจะทำให้ป่ ว ยหนักกว่าเดิม 555 อุตส่าห์ทำงานเก็บเ งิ นแทบ ต า ย แต่สุดท้ายยกให้หมอซะงั้น อ ย่ างนี้มันไม่คุ้มเลยนะจ๊ะ
วิ ธีรั ก ษ าสุ ข ภ า พเบื้องต้นก็คือ กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ในสัดส่วนที่ เหมาะสมของแต่ละวัน นอนให้เต็มอิ่ม อ ย่ ามัวแต่เล่นเกมหรือ ดูซีรีส์จน ดึก เพราะนอ กจากจะทำล า ยภูมิคุ้มกันของร่างกายเราแล้ว เปลืองไฟอีกด้วย เราสามารถผ่อนคล า ยในเวลาที่เหมาะสมได้
หาเวลาไปแฮงค์เอาท์เพื่อนฝูงบ้างเดือนละ 1-2 ครั้ง จะได้ไม่เครียด หมั่นออ กกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอ ไม่จำเป็นต้องเข้าฟิตเนส หรอ กนะ แค่หาเวลาเดินเล่นหรือเปิดยูทูปทำต ามที่บ้าน ถ้านึกอะไรไม่ออ กจริงก็ยืนแกว่งแขนระหว่างดูทีวีหรือฟังเพลง ก็ได้ เห็น มั้ยว่าสุ ข ภ า พดีมีได้ทุกคนนะจ๊ะ
8. หางานเสริมทำ
ข้ อนี้เห็นผลชัดเจน เพราะถ้าทำงานก็ต้องได้เ งิ นแน่นอน ถ้าใครเป็น สายลุยอาจจะทำงานพาร์ทไทม์ต ามร้านต่าง ๆ ทั่วไปต ามแต่ใจชอบ ซึ่งเขาก็จะคิดเป็นร า ย ชั่ ว โ ม ง ให้เรา แต่ถ้าใครไม่ถนัดแนวนั้นอาจจะใช้
เวลาวันละ 2 ชั่ ว โ ม ง ในการทำงานเสริมอื่น ๆ ซึ่งเดี๋ยวนี้ก็มีเยอะมาก ไม่ ว่าจะเป็นข า ยของออนไลน์ รับสอนพิเศษ รับงานเขียน ข า ยภาพถ่าย ไปจนกระทั่งเป็นยูทูปเบอร์ และอีกสารพัดต ามที่เราถนัด อ ดทนเข้าไว้ยังไงก็ ไ ม่ อ ด ต า ย แน่นอนจ้า ภาพดัมเบล
9. ปรับเปลี่ยนวิ ธีการใช้ชีวิตบางอ ย่ าง
ถ้าที่ทำงานไม่ไกลนักบางวันก็ลองเดินดูบ้างก็ได้ ใครที่อยู่หอก็เอา แป้งเย็นเข้าช่วยแล้วเปิดพัดลมแทนแอร์เป็นบางวัน ห่อข้าวไปเองบ้าง อะไรบ้าง อาศัยกาแฟออฟฟิศบ้าง ก็ไม่ได้หมายความว่าต้องงดกิน
ข้าวต ามร้านหรืองดกาแฟเย็นยี่ห้อโปรดไปซะทีเดียวหรอ กนะ แต่ถ้า ทำได้ก็ดี ก็แค่ลดลงจากดื่มกาแฟยี่ห้อหรูทุกวันเปลี่ยนเป็นยี่ห้อหรู สัปดาห์ละ1-2 แก้ว นอ กนั้นดื่มกาแฟชงเองในที่ทำงานบ้าง หรือในร้า นสะดวกซื้ อบ้าง ลดการกินขน มหรือของหวานลงบ้าง เพราะนอ กจาก จะช่วยประหยัดเ งิ นแล้ว ยังทำให้สุ ข ภ า พดีขึ้นด้วย จะได้ร ว ยด้วยสวย ด้วยไงจ๊ะ
10. ทำบัญชีร า ยรับร า ยจ่าย
อาจฟังดูเชย แต่มันจำเป็นจริง ๆ เพื่อพิจารณาการจับจ่ายใช้สอยของ เราเอง และประเมินความผิ ดพลาดในการใช้เ งิ น จะบอ กว่ามันช่วยได้ เยอะนะ เพราะมันจะฟ้องเลยว่าเ งิ นเราห า ยไปกับอะไรมากที่สุด
เราจะได้ไปปรับเปลี่ยนนิสัยในส่วนนั้นให้เหมาะสม เดี๋ยวนี้มีแอพ พลิเคชั่นที่ช่วยบันทึกการใช้จ่ายประจำวันของเรา พอจ่ายปุ๊บก็หยิบมือ ถือมาบันทึกปั๊บ เห็น มั้ยคะว่าง่ายจะ ต า ย แถมเขายังช่วยทำสถิติให้เรา
ด้วย ทำไปทำมาก็สนุกดีเหมือนกัน มีหล า ยแอพให้เลือ ก ลองไปดาวน์โหลดแบบที่เราชอบมาใช้กันดูได้เลยจ้า คงจะพอได้ไอเดียในการเก็บเ งิ นกันไปบ้างแล้ว จะว่าไปถ้าตั้งใจจริงก็ ไม่ได้ย ากเลยนะ เพราะเราคัดมาแล้วว่าเป็นวิ ธีเก็บตังค์ที่ต้องมีความ สุขไปด้วย ไม่ต้องรอให้ร ว ยก็มีความสุขได้ แต่ถ้าสุขด้วยร ว ยด้วยก็จะยิ่งดีใช่มั้ยคะ
ที่มา profession-j55