เคยสงสัยในธุรกิจของใครคนหนึ่งบ้างไหม ลูกค้าเยอะ ข า ยดี แต่ทำไมยิ่งข า ยก็ไม่มีอะไร ยิ่งข า ยดีชีวิตยิ่งแย่ เคยเห็นกันไหม ทั้งที่ข า ยดีขนาดนี้แน่นอนว่าอีก
ไม่นานต้องร ว ยแน่ๆแต่กลับไม่ใช่แบบที่หล า ยคนคิด แล้วมันเป็นเพราะอะไรกันละ วันนี้เรามีข้ อคิดในเรื่องนี้มาฝากกัน จะเป็นอ ย่ างไรเราไปดูกันเลย
คุณเข้าใจไม่ผิ ดหรอ ก หมายถึงอ ย่ างนั้นจริงๆ ข ายดี จนกระทั่งธุรกิจเจ๊ ง จนต้องปิดตัวลง แบบที่เจ้าตัวยังงงๆ อยู่เลยว่าเกิดอะไรขึ้น เหตุการณ์อ ย่ างนี้
มักเกิดขึ้น กับเจ้าของกิจการ ขนาดเล็กในบ้ านเรา และมีให้เห็น มากมาย ร้านอ า ห า ร ร้านจิปาถะ
ที่เริ่มต้นเติบโตจากระบบเจ้าของคนเดียว มีความเชี่ยวชาญเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จึงนำเอาความเชี่ยวชาญนั้น มาทำธุรกิจจนประสบความสำเร็จ
ในการทำ และมีลูกค้ ามากมาย แต่วันหนึ่งก็เกิดการซวนเซ แล้วเจ๊ งไปซะง่ายๆ ซะงั้น มีเพื่อนร า ยหนึ่งอยู่ในอาก ารที่ว่ามานี้ แต่โชคดีที่ มาถามก่อนเจ๊ ง
เพราะเพื่อนเข้ามาถามผมว่าเป็นเพราะอะไร เกิดอะไรขึ้นทั้งๆ ที่ ธุรกิจไปได้ดีตลอ ด ลูกค้ าเยอะ ยอ ดข ายแต่ละวันนับเ งิ นเมื่อยมือเลย แต่ว่า
ต้องไปกู้ห นี้ยืม สิน มาใช้ในธุรกิจ เหมือนเติมไม่เต็มตลอ ด หล า ยปีที่ทำธุรกิจมานั้น ผมเริ่มต้นจากคำถามง่ายๆ ว่า การเป็นเจ้าของกิจการ
มีเ งิ นเดือนเดือนละเท่าไหร่ เงียบ แทนคำตอบก่อนที่จะถามกลับมาว่า ทำไมต้องมีเ งิ นเดือน ก็ในเมื่อเป็นเจ้าของอยู่แล้วไง ผมถามคำถามที่สองไปอีกว่า แล้วเจ้าของใช้เ งิ น เดือนละเท่าไหร่ ลังเลนิดหนึ่งก่อนจะตอบว่าไม่รู้ว่า ในแต่ละเดือนใช้ไปละเท่าไหร่
เพราะจะใช้อะไร ก็หยิบไป ไม่ได้จดไว้ว่า เท่าไหร่ ถ้าไม่พอก็รอให้เ งิ นพอก่อน แล้วค่อยหยิบ จากนั้นจึงถามคำถามที่สาม
เ งิ นที่หยิบจากลิ้นชักไปนั้น เอาไปซื้ ออะไร และคราวนี้สาธย ายย าวเลย ก็ซื้ อทุกอ ย่ างที่ต้องการกินข้าว ซื้ อของเข้าบ้ าน
เลี้ยงสังสรรค์ ผ่ อ น รถ และอีกมากมาย สรุปง่ายๆ เหล่านี้แหละสาเหตุ ที่คนทำธุรกิจที่โตมากับมือ ส่วน มากเป็นแบบเพื่อนผม
ไม่เคยตั้งเ งิ นเดือน ให้ตัวเอง ไม่เคยจดว่าใช้เ งิ นไปแค่ไหน และใช้ไปกับอะไร และทำเป็นสรุปแบบข้ อๆ ได้ 3 สาเหตุ ดังนี้
1. ไม่ทำ ร า ยรับ-ร า ยจ่าย
พอจ่ายเ งิ นเดือนให้ตัวเอง จากนั้นก็ควรจะทำบัญชี ร า ยรับ-ร า ยจ่ายให้ตัวเอง เอาแบบคร่าวๆ ก็ได้ ให้พอรู้ว่าแต่ละวัน จ่ายอะไรไปแค่ไหน เหลือเ งิ นใช้ ได้อีกเท่าไหร่ไม่ใช่ใช้สนุกมือไปเรื่อย
และเ งิ นเดือนที่ ตั้งให้ตัวเองไม่พอใช้ขึ้นเ งิ นเดือนให้ตัวเองซะ ในข้ อนี้จะขึ้นเท่าไหร่คงไม่มีใครว่า แต่มันก็ควรเป็นตัวเลขที่สมเหตุสมผล และไม่ทำให้กระทบกับร า ยรับธุรกิจของเราด้วย
2. การใช้เ งิ น ที่ผิ ดประเภท
เพราะเพื่อนผมเอาเ งิ น ที่หยิบจากลิ้ นชักไปซื้ อข้าวกิน ไปซื้ อของใช้เข้าบ้ าน ไปผ่ อ น รถ สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็นเรื่องส่วนตัว เรื่องส่วนตัวต้องใช้เ งิ นส่วนตัวสิ แต่เ งิ นของธุรกิจ ควรจะจ่ายในสิ่งที่เกี่ยว ข้ องกับธุรกิจสิ เช่น ชำระห นี้การค้ า
ซื้ อวัตถุดิ บ จ่ายเ งิ นเดือน ฯลฯ ตอนที่รับเ งิ นจากลูกค้ า ในเ งิ นแต่ละก้อนที่ได้รับมานั้น ประกอบด้วยต้นทุ นของสินค้ า ต้นทุนค่ าดำเนินการ และกำไ ร อยู่ในนั้นทั้งหมด กลับกันเวลาที่เราหยิบออ กมา กลับมองว่าวันนี้ รับมาเท่าไหร่ มองว่าเป็นร า ยรับล้วนๆ
ไม่คิดจะแย กทุ นแยกกำไรสักนิด และเมื่อเอาไปใช้ไม่ถูกประเภท มันก็เท่ากับว่า ได้ใช้ทั้งกำไ รและต้นทุ นไปทั้งหมดเลย ทีนี้ก็จะอยู่ในอาก าร ทุนหด กำไรไม่เหลือ ฉะนั้นแล้วคิดให้ดีนะ เวลาจะทำอะไร
3. ไม่แยกแยะ เ งิ นของธุรกิจ ออ กจากเ งิ นส่วนตัว
เพราะคิดว่าคือเจ้าของธุรกิจ จึงไม่ตั้งเ งิ นเดือนให้ตัวเอง คือง่ายๆ เป็นเจ้าของเ งิ นทั้งหมดอยู่แล้ว จะใช้อ ย่ างไรก็ได้ นี่เป็นความคิดเริ่มต้นที่ผิ ด เพราะต้องมอง ให้ธุรกิจเป็นเหมือนบุคคล อีกคนหนึ่งเลยนะ ที่เรารับจ้างทำงานให้อยู่ เวลาเราจ้ างใคร ก็จ่ายเ งิ นเดือนชัดเจน และใช้เกินกว่านั้นไม่ได้
แต่ตัวเราซึ่งรับจ้ างธุรกิจที่เราก่อตั้งขึ้นนั้น กลับใช้เ งิ นได้ไม่จำกั ด มันส่งผ ลทำให้เ งิ น ที่เป็นค่าใช้จ่าย แต่ละเดือนไม่คงที่ในแต่ละเดือน ดังนั้น ต้องตั้งเ งิ นเดือนให้ตัวเอง
และจ่ายเ งิ นเดือนเมื่อสิ้นเดือน เหมือนพนักงานคนอื่นๆ และก็ต้องใช้เ งิ นแค่นั้น ห้ามหยิบมาจากลิ้ นชักอีก ต้องไปห า ยืมคนอื่นเอาเอง ถ้าจะยืมจากลิ้ นชักจริงๆ ก็ต้องจดและจากนั้นต้องนำมาคืน
ที่มา bitcoretech khobjainas