5 วิ ธีสอนลูกให้ เชื่อฟัง ไม่ต่อต้าน ลูกไม่เสียใจ

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ข้อคิดในการสอนลูกให้เชื่อฟัง และไม่เสียใจ เสียความรู้สึกกักกับบทความ 5 วิ ธีสอนลูกให้ เชื่อฟัง ไม่ต่อต้าน ลูกไม่เสียใจ ไปดูกันว่าเราต้องสอนลูกอย่ างไรบ้าง

การอบรมสั่งสอนให้ลูกเป็นเด็กที่มีพฤติก รรมเหมาะสม กับการดุลูก เป็นของคู่กัน เพราะที่คุณพ่อคุณแม่ดุ ก็เพื่อให้ลูกเกิดการเรียนรู้ และแก้ไขดุเพื่อให้ลูกเข้าใจว่า ไม่ควรทำความผิดซ้ำอีก แต่การดุหรือตำหนิลูกไม่ถูกวิธี จะส่ งผลให้ลูกสูญเสียความเชื่อมั่น และไม่เห็นคุณค่าในตัวเองอีกทั้ง ยังลดคุณภาพความสัมพันธ์ภายในครอบครัวอีกด้วย ดังนั้นเมื่อคุณพ่อคุณแม่จำเป็น ต้องดุสั่งสอนหรือตักเตือนลูก ก็ต้องมีวิธีทำอย่ างเหมาะสม เพื่อให้ลูกเชื่อฟังและไม่ทำร้า ยจิตใจและความรู้สึกของลูก

1 หลังจากดุแล้วบอ กสิ่งที่อย ากให้ลูกทำ

ยกตัวอย่ างเช่น เมื่อลูกคนโตลงมือตีน้อง แทนที่คุณพ่อคุณแม่จะบอ กกับลูกว่า ห้ามตีน้อง ลองบอ กทางแก้ปัญหาให้ลูกเช่น ‘ลูกไม่จำเป็นต้องตีน้อง ต่อไปนี้ถ้าน้องทำอะไร ให้ห นูไม่พอใจ ให้มาบอ กแม’ เพราะการห้ามลูก โดยไม่บอ กวิธีการแก้ปัญหา เมื่อลูกไม่พอใจน้องก็จะตีน้องอีก

2 อย่ าดุลูกขณะที่กำลังหงุดหงิด

ลูกจะรู้สึกแย่กับความหงุดหงิด และอารมณ์โ ก ร ธของคุณพ่อคุณแม่ ดังนั้นหากรู้สึกหงุดหงิด ควรบอ กกับลูกว่า ‘ตอนนี้แม่หงุดหงิดมาก เดี๋ยวแม่จะไปทำอย่ างอื่นก่อน ห า ยโ ก ร ธแล้ว แม่จะมาคุยเรื่องนี้กับห นูอีกที’ นอ กจากลูกจะไม่ต้องรับอารมณ์ของคุณแม่แล้ว ยังได้เรียนรู้ วิธีการจัดการกับความโ ก ร ธอีกด้วย

3 รับฟังเหตุผลและถามความคิดเห็นในมุมมองของลูก

อย่ ารีบตัดสิน หรือตำหนิลูก โดยที่ไม่เปิดใจรับฟังคำอธิบาย หรือเหตุผลของลูก เพราะจะทำให้ลูกต่อต้าน และไม่อย ากอธิบายอะไร ให้คุณฟังอีกแต่ควรใช้วิธีพูดคุย ถามลูกว่า ถ้าเกิดทำผิดซ้ำ จะให้มีวิธีการตักเตือน หรือลงโทษอย่ างไร เพื่อให้ลูกคิดถึงผลเสียวิธีแก้ไขและรับผิดชอบในความผิดของตัวเอง

4 ไม่ดุลูกต่อหน้าคนอื่น

เพราะจะทำให้ลูกเสียหน้า ข า ดความมั่นใจ รู้สึกอายและรู้สึกว่า พ่อแม่ไม่ให้เกียรติ นอ กจากนี้ยังทำให้ลูกรู้สึกว่า คำสอนของคุณพ่อคุณแม่ ไม่มีความหมายเพราะลูก จะไม่เข้าใจ และไม่รับฟังในสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ พย าย ามสอน แม้ว่าจะเป็นคำสอน ที่ดีขนาดไหนก็ต าม

5 ตำหนิที่การกระทำไม่ใช่ที่ตัวลูก

คุณพ่อคุณแม่ ควรตำหนิที่การกระทำของลูก ไม่ใช่ตำหนิที่ตัวลูก ยกตัวอย่ างเช่น ‘แม่ไม่ชอบที่ลูกแกล้งน้อง’ หรือ’แม่ไม่ชอบที่ลูกพูดคำหย าบ’ทำให้ลูกรับรู้ว่า การกระทำนี้ คุณพ่อคุณแม่ไม่ชอบ ไม่ยอมรับ และจะปรับปรุงตัวให้ดีขึ้น ในทางกลับกัน หากคุณพ่อคุณแม่ตำหนิที่ตัวลูก โดยตรงยกตัวอย่ างเช่น ‘ทำไมเป็นเด็กเกเรแบบนี้’หรือ ‘ลูกแย่มากที่พูดจาแบบนี้’ จะส่ งผลให้ลูกรู้สึกว่า ตัวเองไม่เป็นที่รักของพ่อแม่เป็นเด็กไม่ดี ไม่เห็นคุณค่าในตัวเองท้อแท้ สูญเสียความมั่นใจและไม่อย ากปรับปรุงตัวเองต่อไป

ที่มา Th.theasianparent, stand-smiling