6 ขั้นตอนตรวจสอบร า ค าที่ดินได้ด้วยตัวเอง

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้วิธีการตรวจสอบร า ค าประเมินที่ดินได้คราวๆ และสามารถที่จะทำได้เอง กับบทความ 6 ขั้นตอนตรวจสอบร า ค าที่ดินได้ด้วยตัวเอง ไปดูกันว่าเราจะต้องทำอย่ างไรบ้าง เพื่อให้เรานั้นสามารถทราบร า ค าประเมินที่ล่วงหน้าก่อนที่การซื้ อข า ย

สิ่งที่ต้องเตรียมอันดับแรกคือ โฉนดที่ดินของเราตัวจริงหรือ Copy ก็ได้ ขอแบบชัดๆ ต ามตัวอย่ างนี้

ทำต ามนี้

1 เข้าไปที่ website ของกรมธนารักษ์ กระทรวงมหาดไทย
http://property.treasury.go.th/pvmwebsite/index.asp

2 เมื่อเข้าไปแล้วให้กดที่ปุ่ม ‘ร า ค าประเมินที่ดิน จากเลขที่โฉนด’ ดังรูป

3 หยิบโฉนดที่ดินขึ้น มาแล้วดูตำแหน่งเลขที่ดิน ( ตำแหน่ง 1) และ เลขหน้าสำรวจ ( ตำแหน่งที่ 4)
ร า ค าที่ดิน

นำเลขทั้ง 2 ตัวที่เราดูเมื่อข้อที่แล้วและชื่อจังหวัดไปใส่หน้าเวป แล้วกด ค้นหาเลย

วิธีการค้นหา ร า ค าประเมิน จากเลขที่โฉนด

กำหนดเงื่อนไขในการค้นหา – กำหนด * เลขที่โฉนด – เลือ ก * จังหวัด

กดที่ปุ่มค้นหา เพื่อแสดงข้อมูลต ามเงื่อนไข

หมายเหตุ = – ช่องที่มีเครื่องหมาย * เป็นข้อมูลที่ต้องระบุ – เลือ กสำนักงานที่ดิน

เพื่อแสดงเฉพาะอำเภอในสำนักงานที่ดิน – จังหวัดแสดงเฉพาะที่มีข้อมูล – สามารถป้อนข้อมูลหน้าสำรวจ อำเภอ ตำบล รวมกับเลขที่โฉนดเพื่อ กรองข้อมูล

5 เราจะได้ร า ค าประเมิน แนะนำให้กดปุ่มดังภาพ จะได้เห็นรายละเอียดชัดเจน
ร า ค าที่ดิน

6 สุดท้ายเราก็จะได้เห็น ว่าที่ดินเราต ารางวาละเท่าไหร่

ลองคูณกับขนาดที่ดินแล้วก็จะสามารถคำนวนร า ค าที่ดินได้แล้ว วิธีคำนวนเช่นดังตัวอย่ างภาพ นำที่ดินทั้งหมดไปบวกกัน 1ไร่ ( 400 ตร.ว.) 2 งาน ( 200 ตร.ว.) 71 ตร.ว. รวมกันก็จะได้เท่ากับ 671 ตร.ว.

จากนั้นนำไปคูณกับร า ค าประเมิณที่ต ารางวาละ 250 บาท เมื่อคูณกันแล้วจะได้ 167,750 บาท เห็นไมคะง่ายนิดเดียวเอง

ก่อนจากกัน สำหรับการประเมินร า ค าที่ดินนี้ส่วนใหญ่จะเอาไว้ใช้ในกรณีที่เราจะทำการ กู้หรือจำนองได้เท่านั้น ใครที่คิดว่าจะนำไปสำหรับตั้งร า ค าข า ยจริงนั้น บอ กเลยว่ายังต้องประเมินอีกหล า ยเงื่อนไข เพราะเรื่องจริงร า ค าที่ดินส่วนใหญ่จะสูงกว่าร า ค าประเมิณจากทางราชการ เพราะมีเหตุผลอื่นๆลองรับ เช่น ที่ดินนี้อนาคตรถไฟฟ้าจะผ่าน หรือ จะมีโครงการจากภาครัฐที่จะมาสร้างหรือพัฒนา นั้นก็จากจะทำให้ร า ค าที่ดินเราสูงกว่าเดิมได้ที่หล า ยเท่าคะ แล้วพบกันใหม่ครั้งต่อไปคะ

ที่มา dotproperty