7 ประเภทโฉนดที่ดิน ที่ชอบซื้ อที่ดินควรรู้

วันนี้เราจะพาเพื่อนๆ ที่ชอบการสะสมที่ดินไปเรียนรู้ประเภทของโฉนดที่ดิน ก่อนที่จะถูกหลอ กซื้ อข า ย กับบทความ 7 ประเภทโฉนดที่ดิน ที่ชอบซื้ อที่ดินควรรู้ ไปดูกันว่าประเภทโฉนดที่ดินแต่ละประเภทมีความหมายว่าอย่ างไร

ที่ดินเป็นอสังหาริมท รั พ ย์ที่นับวันจะยิ่งเพิ่มมูลค่าให้กับผู้ที่ถือครองกรร มสิทธิ์ หากทำให้ผืนดินนั้นเกิดประโยชน์ขึ้น มา หรือแม้แต่หากทิ้งไว้ ก็ยังเป็นทรัยพ์สินที่เสื่อมร า ค าหรือเรียกง่ายๆ ว่าร า ค าตกน้อยที่สุด

ไม่ว่าจะปลูกสร้างอาคาร หรือใช้ทำอย่ างอื่น ก็สามารถทำได้ง่ายและมีมูลค่าเพิ่มขึ้น แต่ทั้งนี้ที่ดินแต่ละอย่ างก็มีประเภทที่แตกต่างกัน โดยหากคุณเป็นเจ้าของกร รมสิทธิ์ ควรรู้ไว้ว่าประเภทของโฉนดที่ดินนั้น แตกต่างกัน มีดังนี้

1 น.ส. 4

เป็นโฉนดที่ดินที่สามารถทำการซื้ อ-ข า ย โอนกรร มสิทธิ์ได้ปกติ มีตราครุฑสีแดงบนโฉนด

2 น.ส. 3 ( หนังสือรับรองการทำประโยชน์ )

แบ่งได้เป็น 2 แบบย่อย คือ

2.1 น.ส. 3 และ น.ส. 3 ข. เป็นหนังสือรับรองการทำประโยชน์ โดยไม่มีรูปถ่ายทางอากาศ ไม่ใช่โฉนดที่ดิน สามารถใช้เป็นหนังสือรับรองการครอบครอง แต่ไม่มีก รรมสิทธิ์บนผืนที่นั้น มีครุฑสีดำบนเอกส าร

2.2 น.ส. 3 ก. มีการถ่ายภาพทางอากาศ มีครุฑสีเขียวบนเอกส าร สามารถนำไปจำนองและเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดินได้ในอนาคต

3 น.ส. 2 ( ใบจอง )

หนังสือแสดงสิทธิ์ครอบครองชั่ วคราว ไม่สามารถซื้ อข า ยจำนองได้ แต่สามารถโอนเป็น มรดกให้ทาย าทได้

4 ภ.บ.ท.5 ( เอกส ารสิทธิ์ที่ราชการออ กให้ )

เป็นเพียงเอกสา รการรับรองการเสียภาษี ไม่ให้เอกสา รสิทธิ์ ไม่สามารถซื้ อข า ยโอน จำนองได้ ส่วน มากหล า ยท่าน มักจะถูกหลอ กลวงเรื่องซื้ อข า ยที่ดินจากเอกสา รประเภทนี้

5 น.ค.3

เป็นหนังสือแสดงการทำประโยชน์ซึ่งออ กให้โดยนิคมสร้างตน

6 ส.ท.ก.

เป็นเอกส ารที่ออ กให้โดยกรมป่าไม้ โดยจะเป็นหนังสือรับรองสิทธิทำกินในพื้นที่เขตป่าไม้ ไม่สามารถซื้ อข า ยโอนได้ รวมถึงหากไม่ทำประโยชน์บนผืนดินเกิน 2 ปีจะถูกริบคืนจากทางราชการด้วย

7 ส.ป.ก. ( สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร รม )

มีครุฑสีน้ำเงินบนโฉนด ใช้เพื่อทำการเกษตรกรร ม ไม่สามารถซื้ อข า ยโอนได้ และหากรัฐบาลต้องการเวนคืนที่ดินก็สามารถทำได้เช่นกันด้วย

ประเภทต่างๆ ของโฉนดที่ดินที่ควรทราบ เพื่อเป็นความรู้ และไม่โดนหลอ กลวงหากต้องการทำการซื้ อข า ยที่ดินอีกด้วย

ที่มา krustory, krustory