7 วิ ธีเปลี่ยนคนใช้เงินเก่ง เป็นคนเก็บเงินก้อนได้

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้วิธีการที่จะเก็บออมเพื่อเปลี่ยนแปลงตัวเองให้เป็นคนรู้จักเก็บออม จากคนที่ใช้เงินเก่ง กับบทความ 7 วิ ธีเปลี่ยนคนใช้เงินเก่ง เป็นคนเก็บเงินก้อนได้ ไปดูกันว่าจะต้องทำอย่ างไรบ้าง เพื่ออนาคตที่ไม่ลำบากของเรา

1 แบ่งเงินทันที

ทันทีที่เงินออ ก สิ่งแรกที่ต้องทำคือ จัดสรรเงินให้เป็นก้อนๆ ก้อนหนึ่งไว้ใช้จ่ายทั่วไปในชีวิตประจำวัน ก้อนหนึ่งใช้ห นี้ อีกก้อนหนึ่งไว้ให้รางวัลตัวเอง และต้องไม่ลืมแบ่งอีกก้อน เป็นเงินออมไว้เผื่ออนาคตด้วย ซึ่งการจัดสรรเงินนี้ สามารถประยุกต์ให้เหมาะสมได้ ต ามรายรับรายจ่ายของแต่ละคน

2 รั ก ษ าสถานภาพทางการเงิน

การบริหารเงินจะต้องมีวินัย และปฏิบัติต่อเนื่องอย่ างเคร่งครัด จึงจะเห็นผลชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้อย่ าลืมแผนสำรอง สำหรับปรับการใช้เงิน ให้ยืดหยุ่นต ามสถานการณ์ด้วย เพียงเท่านี้สภาพการเงินก็จะคล่องตัว และมีความมั่นคงในระยะย าว

3 ใช้จ่ายอย่ างรู้ตัว

ความอย ากได้ อย ากมี อย ากกิน อย ากซื้ อนั้น มีกันทุกคน เราสามารถซื้ อทุกอย่ างที่ต้องการได้ ตราบเท่าที่มีเงินจ่าย ถ้าของมันต้องมี เราก็ต้องซื้ อ แต่ต้องยึดกฎเหล็กว่า ต้องไม่สร้างห นี้ และไม่ไปดึงเงินก้อนอื่นที่แบ่งไว้แล้ว มาใช้มั่วซั่ว

4 ออมให้เป็นนิสัย

ไม่จำเป็นต้องอดทุกความสุข หมดสนุกกับทุกอย่ าง เพราะเราวางแผนเองได้ว่า จะออมเท่าไหร่ จะใช้วิธีออมทีละนิดอย่ างสม่ำเสมอ หรือจะเข้มงวดต ามสูตรออมขั้นต่ำร้อยละ 10 ของรายรับก็ได้ แต่อย่ าละเลยการออมเงิน เพราะเงินส่วนนี้นี่แหละ ที่จะช่วยให้อยู่รอดในย ามคับขัน รวมถึงเป็นเงินสำหรับใช้จ่ายในอนาคต ต ามหลักแล้ว เราควรมีเงินสำรองไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉิน อย่ างน้อย 3 เดือน เมื่อเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น ก็ยังมีเงินใช้ และหากบริษัทมีสวัสดิการให้พนักงาน เป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพด้วยก็ยิ่งดี ซึ่งจะช่วยให้การออมเงินของเรานั้นง่ายขึ้น หากเกิดกรณีที่จำเป็นต้องใช้เงิน หรือเกษียณงานไปแล้ว ก็มั่นใจได้ว่ามีเงินก้อนให้ใช้แน่นอน

5 บันทึกรายรับรายจ่าย

การควบคุมการใช้เงินที่ดีที่สุด ก็คือบันทึกการใช้เงินของตนเอง ซึ่งประโยชน์จากการเขียนรายรับรายจ่ายทุกวัน จะทำให้เรารู้รายละเอียดการใช้เงินในแต่ละวัน ว่ามีเงินในกระเป๋าอยู่เท่าไหร่ หยิบใช้ได้มากน้อยแค่ไหน เมื่อใช้จ่ายไปแล้วเหลือเท่าไหร่ อีกทั้งยังทำให้เราเห็นรายจ่ายส่วนเกินได้ง่าย จึงช่วยให้ตัดค่าใช้จ่ายที่เกินความจำเป็นทิ้งได้ง่ายขึ้นต ามไปด้วย

6 นำไปลงทุน

การลงทุนที่ดี คือ การนำเงินที่นอนอยู่นิ่งๆ ไปทำให้งอ กเงย ซึ่งเราสามารถนำเงินไปลงทุนได้ ต ามรูปแบบที่สนใจ และเหมาะกับรายรับรายจ่ายของเรา อย่ างไรก็ต าม ทุกการลงทุนมีความเสี่ยง จึงจำเป็นอย่ างยิ่ง ที่จะต้องศึกษาวิธีการลงทุน ให้เข้าใจเป็นอย่ างดี และเลือ กปรึกษาคนที่ไว้ใจได้เท่านั้น

7 บริหารการชำระห นี้

ห นี้ที่ว่าคือ ค่าบ้าน ค่ารถ ค่าบัตรเครดิต และอีกสารพัดห นี้ การวางแผนจ่ายห นี้ จะช่วยให้การเงินไม่ข า ดสภาพคล่อง เช่น ชำระห นี้ให้ตรงเวลา เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเสียดอ กเบี้ย และค่าต ามทวงห นี้ ชำระห นี้รายเดือนให้ได้จำนวนเงินขั้นต่ำเป็นอย่ างน้อย ถ้ายังมีเงินเหลือก็โปะห นี้ให้มากหน่อย เพื่อลดเงินต้น หรือถ้าฝืดเคืองจริงๆ ควรเลือ กจ่ายห นี้ที่มีดอ กเบี้ยสูงก่อน เพื่อตัดวงจรดอ กเบี้ยบานปล า ย

ที่มา tonkit360, aanplearn