วันนี้เราอย ากที่จะพาทุกคนไปเรียนรู้เกี่ยวกับความรู้รอบตัวของการต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ทุกปี กับบทความ คนใช้รถทุกวันควรรู้ ต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ทุกปี เบิกเ งิ นก้อนได้ ไปดูกันว่าการต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ทุกปี สามารถเบิงเงินได้ในกรณีใดได้บ้าง เพื่อรั ก ษ าผลประโยชน์ของตัวเอง และคนในครอบครัว
พ.ร.บ. รถยนต์เป็นสิ่งที่ผู้ครอบครองรถต่างก็ต้องทำเป็นประจำทุกปี ซึ่งต ามกฎหมายในพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบ ภั ยจากรถปี พ.ศ.2535 นั้น หากเมื่อเกิดอุ บัติเหตุขึ้น จะมีการคุ้มครองและสามารถเบิกค่าสินไหมทดแทน ใดๆ ได้บ้าง ดังนี้
1 ค่าเ สียห า ยเบื้องต้น
เมื่อเกิดอุบั ติเหตุทางรถยนต์แล้ว ผู้ประสบ ภั ย ( ผู้ขับขี่ ผู้โดยส าร บุคคลภายนอ ก ) จะได้รับค่ารัก ษาพ ย าบ า ลที่เบิกได้ต ามจริงไม่เกิน คนละ 30,000 บาท
หากเสี ยชีวิต หรือทุพพลภาพ ( พิ ก า ร ) สามารถเบิกได้สูงสุดไม่เกิน 35,000 บาท แต่ถ้าหากได้รับความ เ สี ยห า ยทั้ง 2 กรณีจะสามารถเบิกได้ไม่เกิน 65,000 บาท โดยยังไม่ต้องพิสูจน์หาว่าฝ่ายใดถูกหรือผิด และประกันจะจ่ายให้ภายใน 7 วันด้วย
2 ค่าสินไหมทดแทน
จะสามารถเบิกจ่ายได้ต่อเมื่อผู้เคลมประกัน พ.ร.บ. ได้ข้อพิสูจน์ทางกฎหมายแล้วว่าเป็นฝ่ายถูก โดยจะสามารถเบิกค่าสินไหมต่างๆ ได้ดังนี้
2.1 บา ดเ จ็บ สามารถเบิกค่ารั ก ษ าพ ย าบาล ต่อคนสูงสุดไม่เกิน 80,000 บาท
2.2 กรณีที่เสี ย ชี วิ ตหรือทุพพลภาพ ( พิ การ ) สามารถเบิกค่าสินไหมทดแทนได้สูงสุดไม่เกิน 300,000 บาทต่อคน
2.3 หากสูญเ สี ยอ วั ย ว ะในร่างกาย 2 ส่วนจะได้รับเงินทดแทนสูงสุด 300,000 บาท แต่ถ้าหากเสี ย 1 ส่วนจะได้รับเงินทดแทน 250,000 บาท หากสูญเ สียนิ้วตั้งแต่ 1 นิ้วขึ้นไป จะได้รับเงินทดแทน 200,000 บาท
2.4 กรณีพักรั ก ษ าตัวที่โรงพย าบาล ( ผู้ป่ ว ยใน ) จะได้รับค่าสินไหมทดแทนวันละ 200 ไม่เกิน 20 วัน
ทั้งนี้สำหรับเอกส ารในการใช้เคลมประกันกับพ.ร.บ. แบ่งได้เป็น 3 กรณีคือ สำหรับการบ าดเจ็ บ ใช้สำเนาบัตรประช าชนของผู้บ าด เจ็ บ ใบเสร็จรับเงินต้นฉบับของค่า รั ก ษ า พ ย าบาล และใบรับรองแพ ท ย์ หากเป็นในกรณีทุพพลภาพ ( พิก าร )
ต้องเพิ่มหนังสือรับรองความพิ การและ สำเนาบันทึกประจำวันการสอบสวนของเจ้าหน้าที่ว่าประสบเหตุได้รับความพิกา รจากอุบั ติเหตุทางรถยนต์ หากเป็นกรณีเ สี ยชี วิ ต จะต้องเพิ่มใช้ใบมรณภาพ สำเนาบัตรประช าชนผู้รับมรดก และสำเนาบันทึกประจำวันจากเจ้าหน้าที่ตำรวจในอุ บั ติ เ ห ตุนั้นๆ อีกด้วย
ที่มา krustory